ห่วง D-Ring บนชุดเข็มขัดนิรภัยแบบเต็มตัว(Full body Harness)กับการใช้งาน

แชร์บทความนี้

ห่วง D-Ring ที่ติดตั้งอยู่บนชุดเข็มขัดนิรภัยแบบเต็มตัวในรุ่นมาตรฐานนั้นผู้ผลิตจะติดตั้งมาให้1จุดบริวณด้านหลังของชุดโดยผ่านการทดสอบความปลอดภัยต่อการใช้งานตามมาตรฐานกำหนด นอกจากนี้โดยทั่วไปห่วง D-Ring ที่ติดตั้งอยู่บนชุดเข็มขัดนิรภัยแบบเต็มตัวสามารถมีได้มากกว่า1จุดเช่นกัน ตามที่สามารถพบเห็นได้โดยทั่วไปและจากการที่ห่วงD-Ringที่ถูกติดตั้งอยู่บนชุดนั้นมีมากกว่า1จุดขึ้นไปนั้นอาจส่งผลให้หลายครั้งที่ผู้ใช้งาน ใช้งานห่วงD-Ringดังกล่าวผิดวัตถุประสงค์ที่มาตรฐานได้กำหนด

เพื่อป้องกันความผิดพลาดในการใช้งานที่อาจจะเกิดจากความไม่รู้หรือข้อจำกัดทางด้านงบประมาณดังกล่าวจนกระทั่งอาจส่งผลให้เกิดอันตรายจนถึงขั้นเสียชีวิตได้นั้น ก่อนการใช้งานผู้ปฏิบัติงานหรือหัวหน้างานควรทำความเข้าใจกับห่วงD-Ringในจุดต่างๆให้เกิดความเข้าใจเพื่อความปลอดภัยก่อนการใช้งานต่อไป

ห่วง D-Ring

ในการใช้งานห่วงD-Ringที่ติดตั้งอยู่บนเข็มขัดนิรภัยแบบเต็มตัวโดยทั่วไปสามารถจำแนกได้ดังนี้

 ห่วงD-Ringบริเวณด้านหลังของชุด:

ห่วง D-Ring

ห่วงD-Ringบริเวณอกด้านหน้าของชุด :

ห่วง D-Ring

ห่วงD-Ringบริเวณช่องท้องด้านหน้าของชุด :

ห่วงD-Ringบริเวณข้างเอวด้านซ้าย-ขวาของชุด :

จุดสังเกตุเพิ่มเติม

ในการใช้จุดยึดเพื่องานป้องกันการตกจากที่สูง(จุดยึดที่อยู่บริเวณด้านหลัง, จุดยึดที่อยู่บริเวณกลางหน้าอกหรือจุดยึดที่อยู่บริเวณหน้าอกทางด้านซ้ายและทางด้านขวา) จะมีตัวอักษร A หรือ A/2 กำกับไว้

หากมีตัวอักษร A กำกับไว้บริเวณD-Ringสามารถใช้สำหรับเชื่อมต่อสายช่วยชีวิตได้โดยตรง

หากมีตัวอักษร A/2 กำกับไว้บริเวณD-Ringที่อยู่บริเวณอกในตำแหน่งด้านซ้ายและด้านขวาของชุด ต้องใช้สายช่วยชีวิตเชื่อมต่อกับห่วง A/2 ทั้ง2จุดพร้อมกันก่อนการใช้งานในการป้องกันการตก

facebook : Thai-Safetywiki

ติดต่อเรา : Thai-Safetywiki

มาตรฐานรองเท้านิรภัยของสหภาพยุโรป EN345

แชร์บทความนี้

รองเท้านิรภัยคู่ใดจะได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน EN345 อันเป็นข้อบังคับหลักของยุโรปหรือเครื่องหมายมาตรฐาน ISO EN20345 ซึ่งได้กำหนดขึ้นมาใหม่

อ่านต่อ »

อุปกรณ์Emergency Shower ชนิดSelf-Contained Eyewash

แชร์บทความนี้

ในปัจจุบันเป็นที่ทราบกันดีว่าในการทำงานร่วมกับสารเคมีนั้นมีโอกาสที่ผู้ปฏิบัติงานอาจได้รับอันตรายจากสัมผัสสารเคมีดังกล่าวโดยไม่ตั้งใจ…

อ่านเพิ่มเติม »

มาจัดระเบียบร่างกายและโต๊ะทำงานกันเถอะ ท่านั่งทำงานยังไงให้ถูกหลักทั้งการใช้งานและการยศาสตร์

แชร์บทความนี้

แชร์บทความนี้วันนี้ใครมีปัญหาเป็น วัยรุ่นปวดหลัง หรือมีปัญหา เมื่อยล้า ปวดกล้ามเ

อ่านเพิ่มเติม »

มีการเปลี่ยนแปลงอะไรใน มาตรฐาน NFPA 1981/1982 :2018

แชร์บทความนี้

อย่างที่ทราบกันสำหรับ มาตรฐาน NFPA 1981/1982 ฉบับปีล่าสุด 2018 ที่ถือได้ว่าเข้มงวดและมีการปรับปรุงมาตรฐานทุกๆ 5 ปี โดยในแวดวงของผู้พัฒนา

อ่านเพิ่มเติม »