ความแตกต่าง Cartridges vs. Canisters

แชร์บทความนี้

ความแตกต่าง Cartridges vs. Canisters

a. ปริมาณวัสดุดูดซับ(Sorbent Volume)

พื้นฐานความแตกต่างระหว่างตลับ Cartridges และ Canisters คือปริมาณการ บรรจุวัสดุดูดซับ(sorbent)ไม่ใช่การใช้งาน. ตลับ cartridges มีองค์ประกอบที่ขจัดไอและก๊าซที่อาจใช้ได้ลำพังหรือเป็นคู่ในหน้ากากครึ่งหน้าหรือเต็มหน้า แต่ปริมาณวัสดุดูดซับของตลับ cartridges จะมีขนาดเล็ก ประมาณ 50-200 cm3 ดังนั้นจึงมีอายุการใช้งานสั้นโดยเฉพาะในก๊าซหรือไอที่มีความเข้มข้นสูง. ดังนั้นการใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจกับตลับ cartridges โดยทั่วไปจะจำกัดความเข้มข้นก๊าซหรือไอไว้ต่ำ ผู้ใช้ควรจะพิจารณาถึงคำแนะนำของ NIOSH,ป้ายกำกับรับรองหรือมาตรฐานเฉพาะที่กำหนดไว้โดยหน่วยงานที่กำกับดูแล

Canisters มีวัสดุดูดซับ(sorbent)ปริมาณมาก และอาจติดอยู่บริเวณคาง, ด้านหน้าหรือหลังหน้ากาก หน้ากากที่ใช้กับ canisters สามารถใช้กับไอหรือก๊าซที่มีความเข้มข้นสูงได้ (ระดับที่อันตรายมากต่อชิวิตหรือสุขภาพ) กว่าตลับ cartridges

สำหรับ Canisters แบบที่ติดกับคาง โดยทั่วไปจะมีปริมาณวัสดุดูดซับ ประมาณ 250-500 cm3 และจะใช้งานกับหน้ากากแบบเต็มหน้า ส่วน Canisters แบบติดบริเวณด้านหน้าหรือด้านหลัง จะพกพาโดยการใช้สายสะพายและใช้ท่อหายใจมายึดกับหน้ากาก จะจัดขึ้นในสถานที่โดยเทียมและเชื่อมต่อกับ facepiece ซึ่ง canister แบบนี้จะมีปริมาณวัสดุดูดซับ ปริมาณ 1000-2000 cm3.

หน้ากากแบบใช้ canister นี้ถือว่าเป็น “หน้ากากกันก๊าซ”  ซึ่งหน้ากากแบบนี้จะได้รับการรับรองสำหรับใช้กับก๊าซโดยเฉพาะ ซึ่งแตกต่างตลับ cartridges กันสารเคมี คือ ปริมาณวัสดุดูดซับที่มากกว่า และการป้องกันก๊าซและไอที่มีความเข้มข้นสูงกว่าได้

b. โครงสร้างตลับ (Construction)

ประเภทของวัสดุดูดซับ sorbent ที่พบใน cartridge และ ตลับ canisters สำหรับใช้กับสารเคมีโดยเฉพาะอาจแตกต่างกันไปตามผู้ผลิต อย่างไรก็ตามโครงสร้างของตัวตลับ cartridge และ ตลับ canisters มีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย โดยมีพื้นฐานเดียวกันคือให้มีความหนาของวัสดุดูดซับเพียงพอ และมีปริมาณเพื่อให้แน่ใจว่า 1) สามารถขจัดสารปนเปื้อนได้หมดในเวลาที่ระบุในการทดสอบ 30 CFR 11 และ 2) วัสดุดูดซับยังสามารถใช้งานได้

c. การทดสอบตามมาตรฐาน CBRN

การทดสอบ Cartridges และ Canisters ที่ผ่านตามมาตรฐาน CBRN จะทดสอบที่อุณหภูมิห้อง 25°C ± 2.5°C และความชื้นสัมพัทธ์ที่ 25% ± 2.5% และ 80% ± 2.5%

การทดสอบจะทดสอบที่เวลา 15,30,60,90 และ 120 นาที โดย Canister จะทดสอบที่อัตราลม 115 lpm และ cartridge ที่อัตราลม 170 lpm ซึ่งอัตราลมนี้จะแบ่งออกตามจำนวนตลับที่ใช้ในสภาพแวดล้อมนั้น โดยประสิทธิภาพของ Cartridges และ Canister ต้องเป็นไปตามตารางนี้ 

สารเคมีที่ทดสอบ

Canister

Cartridge

ความเข้มข้นสาร (ppm)

ความเข้มข้นที่ให้ผ่านได้ (ppm)

ความเข้มข้นสาร (ppm)

ความเข้มข้นที่ให้ผ่านได้ (ppm)

Ammonia

2,500

12.5

1,250

12.5

Cyanogen chloride

300

2

150

2

Cyclohexane

2,600

10

1,300

10

Formaldehyde

500

1

250

1

Hydrogen cyanide

940

4.7*

470

4.7*

Hydrogen sulfide

1,000

5.0

500

5.0

Nitrogen dioxide

200

1 ppm NO2 or 25 ppm NO†

100

1 ppm NO2 or 25 ppm NO†

Phosgene

250

1.25

125

1.25

Phosphine

300

0.3

150

0.3

Sulfur dioxide

1,500

5

750

5

* Sum of HCN and C2N2

 

 

 

 

† Nitrogen Dioxide breakthrough is monitored for both NO2 and NO. The breakthrough is determined by which quantity, NO2 or NO, reaches breakthrough first.

 

สนใจดูสินค้าเพิ่มเติมได้ที่ https://www.pholonline.com

facebook : Thai-Safetywiki

ติดต่อเรา : Thai-Safetywiki

ความแตกต่าง Cartridges vs. Canisters

a. ปริมาณวัสดุดูดซับ(Sorbent Volume)

พื้นฐานความแตกต่างระหว่างตลับ Cartridges และ Canisters คือปริมาณการ บรรจุวัสดุดูดซับ(sorbent)ไม่ใช่การใช้งาน. ตลับ cartridges มีองค์ประกอบที่ขจัดไอและก๊าซที่อาจใช้ได้ลำพังหรือเป็นคู่ในหน้ากากครึ่งหน้าหรือเต็มหน้า แต่ปริมาณวัสดุดูดซับของตลับ cartridges จะมีขนาดเล็ก ประมาณ 50-200 cm3 ดังนั้นจึงมีอายุการใช้งานสั้นโดยเฉพาะในก๊าซหรือไอที่มีความเข้มข้นสูง. ดังนั้นการใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจกับตลับ cartridges โดยทั่วไปจะจำกัดความเข้มข้นก๊าซหรือไอไว้ต่ำ ผู้ใช้ควรจะพิจารณาถึงคำแนะนำของ NIOSH,ป้ายกำกับรับรองหรือมาตรฐานเฉพาะที่กำหนดไว้โดยหน่วยงานที่กำกับดูแล

Canisters มีวัสดุดูดซับ(sorbent)ปริมาณมาก และอาจติดอยู่บริเวณคาง, ด้านหน้าหรือหลังหน้ากาก หน้ากากที่ใช้กับ canisters สามารถใช้กับไอหรือก๊าซที่มีความเข้มข้นสูงได้ (ระดับที่อันตรายมากต่อชิวิตหรือสุขภาพ) กว่าตลับ cartridges

สำหรับ Canisters แบบที่ติดกับคาง โดยทั่วไปจะมีปริมาณวัสดุดูดซับ ประมาณ 250-500 cm3 และจะใช้งานกับหน้ากากแบบเต็มหน้า ส่วน Canisters แบบติดบริเวณด้านหน้าหรือด้านหลัง จะพกพาโดยการใช้สายสะพายและใช้ท่อหายใจมายึดกับหน้ากาก จะจัดขึ้นในสถานที่โดยเทียมและเชื่อมต่อกับ facepiece ซึ่ง canister แบบนี้จะมีปริมาณวัสดุดูดซับ ปริมาณ 1000-2000 cm3.

หน้ากากแบบใช้ canister นี้ถือว่าเป็น “หน้ากากกันก๊าซ”  ซึ่งหน้ากากแบบนี้จะได้รับการรับรองสำหรับใช้กับก๊าซโดยเฉพาะ ซึ่งแตกต่างตลับ cartridges กันสารเคมี คือ ปริมาณวัสดุดูดซับที่มากกว่า และการป้องกันก๊าซและไอที่มีความเข้มข้นสูงกว่าได้

b. โครงสร้างตลับ (Construction)

ประเภทของวัสดุดูดซับ sorbent ที่พบใน cartridge และ ตลับ canisters สำหรับใช้กับสารเคมีโดยเฉพาะอาจแตกต่างกันไปตามผู้ผลิต อย่างไรก็ตามโครงสร้างของตัวตลับ cartridge และ ตลับ canisters มีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย โดยมีพื้นฐานเดียวกันคือให้มีความหนาของวัสดุดูดซับเพียงพอ และมีปริมาณเพื่อให้แน่ใจว่า 1) สามารถขจัดสารปนเปื้อนได้หมดในเวลาที่ระบุในการทดสอบ 30 CFR 11 และ 2) วัสดุดูดซับยังสามารถใช้งานได้

c. การทดสอบตามมาตรฐาน CBRN

การทดสอบ Cartridges และ Canisters ที่ผ่านตามมาตรฐาน CBRN จะทดสอบที่อุณหภูมิห้อง 25°C ± 2.5°C และความชื้นสัมพัทธ์ที่ 25% ± 2.5% และ 80% ± 2.5%

การทดสอบจะทดสอบที่เวลา 15,30,60,90 และ 120 นาที โดย Canister จะทดสอบที่อัตราลม 115 lpm และ cartridge ที่อัตราลม 170 lpm ซึ่งอัตราลมนี้จะแบ่งออกตามจำนวนตลับที่ใช้ในสภาพแวดล้อมนั้น โดยประสิทธิภาพของ Cartridges และ Canister ต้องเป็นไปตามตารางนี้ 

สารเคมีที่ทดสอบ

Canister

Cartridge

ความเข้มข้นสาร (ppm)

ความเข้มข้นที่ให้ผ่านได้ (ppm)

ความเข้มข้นสาร (ppm)

ความเข้มข้นที่ให้ผ่านได้ (ppm)

Ammonia

2,500

12.5

1,250

12.5

Cyanogen chloride

300

2

150

2

Cyclohexane

2,600

10

1,300

10

Formaldehyde

500

1

250

1

Hydrogen cyanide

940

4.7*

470

4.7*

Hydrogen sulfide

1,000

5.0

500

5.0

Nitrogen dioxide

200

1 ppm NO2 or 25 ppm NO†

100

1 ppm NO2 or 25 ppm NO†

Phosgene

250

1.25

125

1.25

Phosphine

300

0.3

150

0.3

Sulfur dioxide

1,500

5

750

5

* Sum of HCN and C2N2

 

 

 

 

† Nitrogen Dioxide breakthrough is monitored for both NO2 and NO. The breakthrough is determined by which quantity, NO2 or NO, reaches breakthrough first.

 

สนใจดูสินค้าเพิ่มเติมได้ที่ https://www.pholonline.com

facebook : Thai-Safetywiki

ติดต่อเรา : Thai-Safetywiki

Sensor วัดแก๊สพิษ แบบ ELECTROCHEMICAL รู้ไว้ปลอดภัยใช้ถูก

แชร์บทความนี้

จากบทความที่แล้วเรื่องของ sensor วัดแก๊สติดไฟ ครั้งนี้เราจะมาเจาะลึกถึงชนิดของ Sensor วัดแก๊สพิษ แบบ Electrochemical เพื่อให้ทราบหลักการ

อ่านต่อ »

โรคฝีดาษลิง หรือฝีดาษวานร คืออะไร มีอาการยังไง และป้องกันอย่างไร

แชร์บทความนี้

แชร์บทความนี้ช่วงนี้เราคงได้ยินข่าว เรื่องฝีดาษลิง หรือฝีดาษวานรที่พบการติดเชื้อ

อ่านเพิ่มเติม »

Sensor สำหรับวัดแก๊สติดไฟ รู้ไว้ ใช้ถูก

แชร์บทความนี้

หลังจากได้เรียนรู้เรื่องหน่วยของการวัดแก๊สติดไฟ กันไปในบทความครั้งที่แล้ว ครั้งนี้เราจะมาเจาะลึกถึงชนิดของ Sensor สำหรับวัดแก๊สติดไฟ เพื่อให้การใช้งานเป็นไป

อ่านเพิ่มเติม »