เทียบหน่วยการวัดและน้ำหนักที่ใช้กันทั่วไป ของสารเคมีอันตราย

แชร์บทความนี้

ลองจินตนาการดูนะครับหากเราไม่มีหน่วยการวัดปริมาณ ความสูง ความเร็ว มวล เราจะสื่อสารกันอย่างไรให้เข้าใจความมากหรือน้อยของ สะสารของแข็ง แก๊ส และที่สำคัญ ของเหลวอันตรายอย่างสารเคมีรุนแรง ต่อไปนี้คือ หน่วยเทียบที่ใช้กันทั่วไปในระดับสากล กับภาชนะจัดเก็บและเคลื่อนย้ายสารเคมีอันตรายครับ 

Containers : ปริมาณบรรจุ(หน่วย)

4 ounces 0.12 litres
8 ounces 0.24 litres
16 ounces 0.5 litres
32 ounces 1 litres

1 pint 0.5 litres
1 quart 1 litres
2 quart 2 litres
1 gallon 4 litres
1 1/2 gallons 6 litres
2 gallons 8 litres
2 1/2 gallons 9 litres
3 gallons 11 litres
3 1/2 gallons 13 litres
4 gallons 15 litres
5 gallons 19 litres
6 gallons 23 litres
8 gallons 30 litres
10 gallons 38 litres
12 gallons 45 litres
14 gallons 53 litres
15 gallons 57 litres
20 gallons 76 litres
21 gallons 79 litres

 

¼ inch 6mm
⅜ inch 10mm (tubing)
½ inch 13mm
¾ inch 19mm
1 ½ inch 38mm
2 inch 51mm
2 ¼ inch 57mm

Cabinet : ขนาดตู้และปริมาณจัดเก็บ

 

30 gallon 114 litres
45 gallon 170 litres
60 gallon 227 litres
90 gallon 341 litres

Environmental spill control & Drum Sizes : การควบคุมการรั่วไหลและขนาดของภาชนะจัดเก็บ

30 gallon drum 110 litres drum
55 gallon drum 200 litres drum
22 gallon sump capacity 83 litres
43 gallon sump capacity 163 litres
66 gallon sump capacity 250 litres
75 gallon sump capacity 284 litres
85 gallon sump capacity 322 litres
95 gallon (over pack ) sump capacity 360 litres
24 gauge steel 0.5mm
18 gauge steel 1mm
16 gauge steel 1.5mm
14 gauge steel 1.9mm

Weight Equivalents : เทียบเท่าน้ำหนัก

 

Pounds to kilograms : 1 x 0.4536

60 pounds 27 kg
350 pounds 159 kg
600 pounds 272 kg
1000 pounds 454 kg
1500 pounds 680 kg
2500 pounds 1134 kg
3750 pounds 1701 kg
5000 pounds 2268 kg

 

Pressure and Temperature : ความดันและอุณหภูมิ

3 psig 0.2 bar
5 psig 0.35 bar
165ºF 74ºC

 

เกร็ดความรู้

ทำไมอุปกรณ์จัดเก็บสารเคมีถึง มีทั้งสีแดง สีเหลือง หรือสีอื่นๆ แตกต่างกัน ?

เพื่อเป็นตัวบ่งชี้ ชนิดหรือประเภทของสารเคมี ที่จะใช้งานและป้องกันสารเคมีที่มีฤทธิ์กัดกร่อนบางประเภท เมื่ออยู่รวมกันแล้วจะทำปฏิกิริยาได้ เช่น เกิดควัน ระเบิด ติดไฟ เป็นต้น

โดยปกติแล้วการใช้สีแดง หรือสีเหลืองนั้นเป็นสีที่ทั่วโลกนิยมใช้กัน และสังเกตุได้ง่าย

เลือกชมสินค้าและตัวอย่างสินค้าได้ที่ https://www.pholonline.com/justrite

ตัวแทนจำหน่ายอย่างเป็นทางการในประเทศไทย ( Exclusive Distributor )

ลงบ่อเกรอะเสียชีวิตได้อย่างไร จะรู้และป้องกันอย่างไร

แชร์บทความนี้

น่าเสียใจที่เราจะได้ข่าวเหตุการณ์ที่มีผู้ปฏิบัติงานที่ต้องสูญเสียชีวิตขณะทำงานไม่ว่าจะสาเหตุใดก็ตามข่าวล่าสุดในเดือนสิงหาคม 2020

อ่านเพิ่มเติม »

เรื่องนี้สำคัญ รังสี UV ในฤดูหนาว แม้อากาศไม่ร้อน ก็ยังอันตรายอยู่

แชร์บทความนี้

แชร์บทความนี้หลายคนชอบคิดว่า พอถึงฤดูหนาวแล้วจะสบายใจและไม่ต้องกังวลเรื่องแดดมาก

อ่านเพิ่มเติม »

GPT-4.0 vs. GPT-4-O1: ความแตกต่าง ข้อดี และข้อเสีย พร้อมตัวอย่างการใช้งาน GPT-4-O1 ที่น่าสนใจทำอะไรดี

แชร์บทความนี้

แชร์บทความนี้ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยี AI ที่รวดเร็ว การเปิดตัวของโมเดลใหม่ ๆ

อ่านเพิ่มเติม »